วันพฤหัสบดีที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

ตัวเลข เวลา และวันในสัปดาห์

ก่อนที่เราจะเรียนรู้ไวยากรณ์ หรือ คำกริยาต่างๆ ผมว่าเรามาเรียนรู้เรื่องตัวเลข เวลา และ วันในสัปดาห์กันก่อนดีกว่า เพราะการใช้งานจริง สิ่งที่เราใช้อาจไม่ตรงตามหลักไวยากรณ์ แต่สามารถสื่อสารให้เข้าใจง่ายๆได้ ฉะนั้นเราจำเป็นที่ต้องเรียนรู้ สิ่งเหล่านี้เป็นอันดับแรกๆ

漢字 – Kanji ひらがな – Hiragana Romaji
(English Letters)
English Meaning
いち ichi one
ni two
さん san three
し、 よん shi (yon after 10) four
go five
ろく roku six
しち、 なな shichi (nana after 10) seven
はち hachi eight
きゅう kyuu nine
じゅう juu ten
ひゃく hyaku hundred
ตัวเลขหลักจาก 10 ขึ้นไปก็เอา เลข 10 มาประกอบด้วย อันนี้ไม่ค่อยจะแตกต่างกับของไทยมากนัก
เช่น 11-じゅういち,12 – じゅうに, 13 -じゅうさん, 14 – じゅうよん, 20 – にじゅう 21-にじゅういち
Numbers after 10 are a piece of cake once you know 1 through 10. 11 is simply ten with a one after it, 十一 (じゅういち, juuichi), 12 – juuni, 13 – juusan, 14 – juuyon, etc. 20 is simply 二十 (にじゅう, nijuu), 21 – nijuuichi, and so forth.
เดือน
ในเรื่องของเวลา ก็นำหน้าด้วยเวลาและตามด้วย じ (時) แปลว่า โมง
ส่วนถ้ามีหน่วยของเวลาเป็นนาทีก็จะตามด้วย ふんหรือ ぷん (มี 2 ตัวแล้วแต่ว่าใช้กับตัวเลขอะไรอีกนะ)
Put these numbers in front of the character for time 時 and you’ve got the time of the day.
漢字 – Kanji ひらがな – Hiragana Romaji
(English Letters)
English Meaning
一時 いちじ ichiji one o’clock
二時 にじ niji two o’clock
二時半 にじはん nijihan two thirty (半 means half)
二時四十五分 にじよんじゅうごふん nijiyonjuugofun 2:45 (分 means minute)
…etc.
ตัวอย่างประโยค (ใช้ฝึกอ่านออกเสียง เพื่อให้เกิดความคุ้นเคยกับรูปประโยค)
1. いま 2じ5ふん
4じはん
です。
なんじ ですか。
2. ひるやすみは 12じ
12じはん
から 1じ
1じ15ふん
までです。
なんじ なんじ までですか。
3. ともだちのやすみは げつようび
どようびと にちようび
です。
なんようび ですか。
4. わたしは 8じはん
あさ
げつようび
から 5じ
ばん
きんようび
まで はたらきます。
5. わたしは まいあさ  6じ 
 7じはん
に おきます。
あなたは 。。。。。  なんじ に おきますか。
6. わたしは まいにち
あした
べんきょうします。
きのう
おととい
べんきょうしました。
กริยารูป ます ปัจจุบัน รูป ました
7.  ね
 やすみ
 はたらき
ます
ます
ます
 ね
 やすみ
 はたらき
ません
ません
ません
 ね
 やすみ
 はたらき
ました
ました
ました
 ね
 やすみ
 はたらき
ませんでした
ませんでした
ませんでした
ความหมายของรูปประโยค
いま なんじ ですか。 ตอนนี้ กี่โมง
いま 2じ5ふん です。 ตอนนี้ 2 โมง 5 นาที
いま 4じはん です。 ตอนนี้ 4 โมงครึ่ง
-から ตั้งแต่ -まで ถึง (จะใช้พร้อมกัน หรือ แยกกันก็ได้)
ひるやすみは なんじから なんじまで ですか。 พักเที่ยง ตั้งแต่กี่โมง ถึงกี่โมง
เดือน
สำหรับเดือน 1-12 จะใช้ตัว 月 ต่อท้ายตัวเลข (ตัวคันจินี้มีความหมายถึงพระจันทร์และเอามาใช้เป็นเดือน)
ถ้าจะถามผมว่าทำไมต้องเป็นตัวพระจันทร์ ผมเดาว่าคงจะอาศัยจันทรคติแบบไทยๆหละมั้ง “ข้างขึ้น” “ข้างแรม” อะไรทำนองนั้น
ญี่ปุ่นเขาไม่ใช้ January , February หรือ มกรา กุมภา แบบไทยหรือเทศ มันใช้เป็น เดือน 1 2 3 4 เลย ก็ง่ายดี

漢字 – Kanji ひらがな – Hiragana Romaji
(English Letters)
English Meaning
一月 いちがつ ichigatsu January
二月 にがつ nigatsu February
三月 さんがつ sangatsu March
四月 しがつ shigatsu April
…etc.

สำหรับวันในสัปดาห์ของญี่ปุ่นจะไม่มีรูปแบบง่ายๆเหมือนก่อนหน้านี้ ก็ต้องจำเป็นคำๆไป
แต่ละวันก็จะมีอักษรคันจิ ที่แสดงถึงธรรมชาติ ถ้าใครเคยดูการ์ตูนเรื่อง sailor moonจะจำได้โดยง่าย อิอิ
วันอาทิตย์ ใช้ดวงอาทิตย์ にち 日
วันจันทร์กใช้ดวงจันทร์ げつ 月
วันอังคารใช้ไฟ か 火
วันพุธ ใช้ น้ำ すい 水
วันพฤหัส ต้นไม้ もく 木
วันศุกร์ ทอง きん 金
วันเสาร์ ดิน ど 土
และควรเรียนรู้คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับเวลา อื่นๆเช่น วันนี้ พรุ่งนี้ เมื่อเช้า etc. (ดูตามตาราง)

漢字 – Kanji ひらがな – Hiragana Romaji
(English Letters)
English Meaning
日曜日 にちようび nichiyoubi Sunday (日 – sun/day)
月曜日 げつようび getsuyoubi Monday (月 – moon)
火曜日 かようび kayoubi Tuesday (火 – fire)
水曜日 すいようび suiyoubi Wednesday (水 – water)
木曜日 もくようび mokuyoubi Thursday (木 – tree/wood)
金曜日 きんようび kinyoubi Friday (金 – gold)
土曜日 どようび doyoubi Saturday (土 – dirt)
今日 きょう kyou Today
明日 あした ashita Tomorrow
昨日 きのう kinou Yesterday
一昨日 おととい ototoi the day before yesterday
明後日 あさって asatte the day after tomorrow (a small “tsu” (っ) makes a double consonant)
今朝 けさ kesa this morning
今晩 こんばん konban this evening
いま ima now
ตัวอย่างประโยค
  • このゲームは いくらですか。
    - このゲームは 12000円 です。
  • シャツと パンツ。
  • このシューズを ください。
  • みきちゃんの けいたいばんごうは なんばんですか。
    - 548-2543 です。
  • ともだちは おいくつですか
    -24さいです。

วันพฤหัสบดีที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

บทที่ 1 A は B です。

อธิบายโครงสร้างไวยากรณ์
1.) A は B です。 ใช้เพื่อบอกว่า A เป็น B
A,B   : คำนาม หรือ คำสรรพนาม
は   : (เขียนด้วยตัว ฮะ แต่อ่านว่า วะ) เป็นคำช่วย ที่ใช้แสดงว่าสิ่งที่อยู่ข้างหน้า วะ เป็นประธาน
です  : ถ้าประโยคลงท้ายด้วยคำนาม หรือ คำคุณศัพท์ จะลงท้ายด้วยคำนี้ ถ้าเป็นคำกริยาก็จะลงด้วย ます。
ใช้สำหรับประโยคสุภาพ ภาษาไทย จะแปลว่า ครับ/ค่ะ
2.) A は B では ありません。 หรือ Aは Bじゃ ありません。
ใช้เพื่อบอกว่า A ไม่ได้เป็น/ไม่ใช่ B
では ありません。 : เป็นรูปปฎิเสธของ です。 นั่นเอง
หรือใช้ じゃ ありません。 ก็ได้ มันจะออกแนวภาษาพูด
3.) ประโยคคำถามในภาษาญี่ปุ่นจะลงท้ายด้วย か。 (ยกเสียงสูง ก๊ะ)
เราสามารถแบ่งออกเป็น 3 แบบคือ
  
  3.1) Aは (ปุจฉาสรรพนาม)ですか。
  ประโยคที่ใช้คำ ปุจฉาสรรพนาม (WH Question words) 
  ปุจฉาสรรพนาม : อะไร เมื่อไหร่ ใคร ทำไม อย่างไร เป็นต้น

  ตัวอย่าง

  あのかたは どなたですか。  ท่านนั้นคือใคร
  トイレは どこですか。  ห้องน้ำอยู่ไหน
  ดู Question words เพิ่มเติม

  3.2) A は Bですか。
  ประโยคใช่หรือไม่ใช่     A คือ B ใช่หรือเปล่า
  ตัวอย่าง

  あのひとは YUI ですか。
  - คนนั้นคือยูอิหรือเปล่า
  はい, あのひとは YUI です。
  - ครับ คนนั้นแหละยูอิ

  3.3)  Aは Bですか、 Cですか。
  A คือ B หรือ C

  ตัวอย่าง

  あのひとは はるなちゃんですか、 ともみちゃんですか。
  - คนนั้นคือ ฮารุนะจัง หรือ โทโมมิจัง
  あのひとは ともみちゃんです。
  - คนนั้นหนะ โทโมมิจัง
4.) AはBです。CもBです。
も เป็นคำช่วยในภาษาญี่ปุ่นแปลว่า “ก็” หรือ “ด้วย”
ใช้อธิบายว่าประโยคที่พูดถึง ก็เป็นเหมือนกับประโยคก่อนหน้า
ヒッキ- かしゅです。ฮิกกี้เป็นนักร้อง
YUI  かしゅです。 ยูอิ ก็ เป็นนักร้อง
** ヒッキ- : 宇多田.ヒカル (อุทาดะ ฮิคารุ)
ในกรณีที่คำถามใช้คำช่วย も เช่น
ビル・ゲイツ かしゅですか
บิลเกต ก็ นักร้องใช่ไหม
いいえ、ビル・ゲイツ かしゅでは ありません
ไม่ครับ บิลเกตไม่ได้เป็น นักร้อง
* เนื่องจากเราตอบปฏิเสธ ก็เลยไม่ต้องใส่ も (เพราะถ้าใส่ も มันจะแปลว่า ก็ หมายถึงความหมายมันจะกลายเป็นสอดคล้องกัน)
………………
かいわ1
エリン : はじめまして。わたしは エリンです。どうぞ よろしく。
きむら : きむらです。こちらこそ どうぞ よろしく。エリンさんは アメリカ人ですか。
エリン : いいえ、わたしは アメリカ人ではありません。イギリス人です。
きむら : そうですか。 エリンさんは がくせいですか。
エリン : はい、そうです。

บทสนทนา 1
เอริน : ยินดีที่ได้รู้จัก ฉันเอริน ฝากเนื้อฝากตัวด้วย
คิมูระ : คิมูระครับ。ทางนี้ก็ฝากเนื้อฝากตัวด้วยครับ
เอรินเป็นคนอเมริกาหรือเปล่าครับ
เอริน : ไม่ค่ะ ฉันไม่ได้เป็นคนอเมริกา เป็นคนอังกฤษค่ะ
คิมูระ : อ่อ ครับ เอรินเป็นนักเรียน(นักศึกษา)หรือเปล่าครับ
เอริน : คะ ใช่คะ
………………
かいわ2
マリー : こんにちは。マリーです。どうぞ よろしくおねがいします。
りょう : りょうです。どうぞ よろしく。
マリーさんは イギリス人ですか、アメリカ人ですか。
マリー : イギリス人です。
りょう : そうですか。 「マリー」は みょうじですか。
マリー : いいえ、みょうじではありません。 なまえです。 「ましろ」は なまえですか、みょうじですか。
りょう : 「りょう」は みょうじです。

บทสนทนา 2
แมรี่ : สวัสดีค่ะ แมรี่ค่ะ ฝากเนื้อฝากตัวด้วยค่ะ
เรียว : เรียวครับ ฝากเนื้อฝากตัวด้วยครับ
คุณแมรี่เป็นคนอังกฤษหรือคนอเมริกาครับ
แมรี่ : เป็นคนอังกฤษค่ะ
เรียว : อ่อครับ 「มารี」 นี่เป็นนามสกุลหรือเปล่าครับ
เอริน : ไม่ใช่ค่ะ เป็นชื่อค่ะ 「เรียว」 นี่เป็นชื่อหรือนามสกุลคะ?
เรียว : 「เรียว」 คือนามสกุลครับ。